Sunday, February 27, 2011

ช่วยแนะนำหน่อย

สมมติเราเป็นครูประจำชั้นม.2 มีคุณแม่ยังสาวจูงมือลูกชายมาหาเรา แล้วเล่าว่า ลูกชายเฉื่อยแฉะ ขี้เกียจเรียนหนังสือ ดุด่าว่ากล่าวเหมือนไม่เข้าหู หนังสือไม่เคยอ่าน ดีหน่อยตรงที่ไม่เกเร ไม่เถียง เราจะแนะนำแม่อย่างไร คุยกับลูกอย่างไร

28 comments:

  1. This comment has been removed by the author.

    ReplyDelete
  2. ในกรณีนี้ คุณแม่จะต้องเข้าใจลูกชายในวัยนี้เพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลง คุณแม่ไม่ควรดุด่าในสิ่งที่ไม่ควรด่า แต่ควรที่จะให้คำตักเตือน ให้กำลังใจ และแนะนำในทุกๆเรื่องแก่ลูกของคุณ จะทำไห้ลูกของคุณกล้ามาปรึกษาและบอกทุกอย่างที่เกิดขึ้นกับตัวเขา ลูกก็จะไว้ใจคุณแม่ และคุณแม่เองก็ควรไว้ใจลูกเช่นกัน


    นางสาวคูไซมะห์ เจ๊ะ
    รหัส405304053
    โปรแกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  3. This comment has been removed by the author.

    ReplyDelete
  4. เราควรแนะนำให้คุณแม่พาลูกไปทำกิจกรรมต่างๆที่ส่งเสริมให้ลูกเกิดการเรียนรู้หรือให้เด็กฝึกอ่านหนังสือการ์ตูนหนังสือที่มีสีสันสวยงามที่ประโยชน์แก่ลูก เพื่อฝึกให้ลูกเป็นคนรักการอ่านและสามารถฝึกทักษะหลายๆอย่างจากการอ่านและเองคุณแม่ก็ควรให้เวลาเอาใจใส่ลูกเปลี่ยนจากการดุการด่ามาเป็นให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำ เมื่อลูกทำผิดก็ควรให้กำลังใจไม่ควรซ้ำเติมเพราะการซ้ำเติมไม่ช่วยให้อะไรดีขึ้นเลย
    หวังว่าการให้คำแนะนำในครั้งนี้จะทำให้ลูกชายของคุณแม่เปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้นนะค่ะ

    ชื่อ นางสาวทาริกา บินมามะ
    รหัส 405304058
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  5. ก่อนอื่นก็ต้องแนะนำกับคุณแม่ว่าลูกของคุณแม่นั้นจะไม่ค่อยเหมือนกับเด็กทั่วไปสักเท่าไหร่จะด้อยที่ว่าเขาเป็นคนขี้เกียจและไม่ค่อยที่จะสนใจกับคำพูดของคนอื่นๆนักเหตุนี้แหละเลยทำให้ลูกของคุณแม่เป็นคนที่ไม่เอาไหนและเฉื่อยแฉะอยู่ตลอดอันดับแรกการที่จะเปลี่ยนลูกคุณแม่ให้เหมือนกับเด็กทั่วๆไปได้ก็ต้อง1.เวลาคุณแม่พูดกับเขาคุณแม่จะต้องพูดอย่างละมุนละไมเพื่อให้เขาสนใจในคำพูดของคุณแม่เลยจะทำให้เขาคิดที่จะฟังและรับรู้สิ่งที่คุณแม่พูด คุณแม่สั่ง คุณแม่สอน2.การที่ลูกของคุณแม่นั้นขี้เกียจเรียนหนังสือก็ไม่ใช่ว่าลูกนั้นเรียนไม่เก่งแต่มักจะเป็นนิสัยของเด็กในวัยนี้โดยส่วนใหญ่เพราะเด็กในวัยนี้คิดที่จะรักความสนุกไปวันๆเท่านั้นไม่คิดที่จะสนใจในเรื่องอื่นนัก

    ReplyDelete
  6. ก่อนอื่นก็ต้องแนะนำกับคุณแม่ว่าลูกของคุณแม่นั้นจะไม่ค่อยเหมือนกับเด็กทั่วไปสักเท่าไหร่จะด้อยที่ว่าเขาเป็นคนขี้เกียจและไม่ค่อยที่จะสนใจกับคำพูดของคนอื่นๆนักเหตุนี้แหละเลยทำให้ลูกของคุณแม่เป็นคนที่ไม่เอาไหนและเฉื่อยแฉะอยู่ตลอดอันดับแรกการที่จะเปลี่ยนลูกคุณแม่ให้เหมือนกับเด็กทั่วๆไปได้ก็ต้อง1.เวลาคุณแม่พูดกับเขาคุณแม่จะต้องพูดอย่างละมุนละไมเพื่อให้เขาสนใจในคำพูดของคุณแม่เลยจะทำให้เขาคิดที่จะฟังและรับรู้สิ่งที่คุณแม่พูด คุณแม่สั่ง คุณแม่สอน2.การที่ลูกของคุณแม่นั้นขี้เกียจเรียนหนังสือก็ไม่ใช่ว่าลูกนั้นเรียนไม่เก่งแต่มักจะเป็นนิสัยของเด็กในวัยนี้โดยส่วนใหญ่เพราะเด็กในวัยนี้คิดที่จะรักความสนุกไปวันๆเท่านั้นไม่คิดที่จะสนใจในเรื่องอื่นนัก

    ชื่อ นางสาวสุมานี ยือเลาะ
    รหัส 405304080
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  7. อันดับแรกต้องถานปัญหาลูกก่อนว่ามีปัญหาอะไรและควรพูดกับลูกด้วยคำสุภาพอ่อนหวาน เปิดใจรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับลูก คุณแม่ควรทันต่อเหตุการณ์ในปัจจุบันของลูก และยกตัวอย่างในทางที่ดีเพื่อให้ลูกได้มองเห็นในอนาคตที่ดีของตน ขัดเกลาลูกเรื่อยๆสม่ำเสมอ คุณแม่ควรเป็นทุกๆอย่างในแง่ของลูกต้องการเช่น เป็นที่ปรึกษา เป็นที่ระบาย และอื่นๆ ควร แม่ไม่ควรพูดดุด่าลูกโดยไร้เหตุผลหรือว่าด่าจนมากเกินไป ไม่ควรใช้คำหยาบ เพราะอาจทำให้ลูกเกิดการรำคาญได้ และก่อให้เกิดปัญหาอย่างอื่นตามมาได้

    ชื่อนางสาวอนุรัตน์ วาเต๊ะ
    นางรหัสนักศึกษา 405304079
    โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  8. ถ้าดิฉันเป็นครูของเด็ก ดิฉันจะแนะนำแม่ของเด็กว่าแม่ต้องเข้าใจเด็กวัยนี้ ความต้องการของเด็กวัยนี้อยู่ที่การเล่นมากกว่า และแม่ก็ไม่สมควรอย่างยิ่งที่จะไปดุด่าว่าลูกเมื่อลูกนั้นขี้เกียจเรียนหนังสือ ควรพูดคุยกับลูกดีๆ ให้คำเสริมแรง บอกลูกว่าถ้าลูกขยันเรียนแม่จะซื้อของขวัญให้ อาจเป็นรถบังคับหรืออะใรก็ได้ที่ลูกชอบ และนี้ก็เป็นวิธีหนึ่งที่สามารถเปลียนแปลงพฤติกรรมของลูกได้

    นางสาวนูรมี หะแว
    รหัส 405304096
    โปรปกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  9. ถ้าผมเป็นครูชั้น ม.2 คนนั้นผมอยากจะบอกกับคุณเเม่ว่า เด็กในวัยนี้เป็นช่วงที่เด็กมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์และเปลี่ยนแปลงมาก โดยเฉพาะในเรื่องเพศ ในวัยนี้เด็กจะมีความต้องการทางเพศอย่างรุนแรงนั้นคือประเด็นหนึงที่คุณแม่ต้องเข้าใจ แล้วที่คุณแม่บอกว่าลูกเฉี่อยแฉะ ขี้เกียจอ่านหนังสือ ดุด่าว่ากล่าวอะไรเหมือนไม่เข้าหูนั้นอาจจะเป็นเพราะว่าคุณแม่นั้นยังสาวอยู่เลยทำให้เด็กเกิดคาวมคิดที่ว่าแม่กับเด็กนั้นมีอายุไม่ต่างกันเท่าไร ก็เลยพูดอะไรไม่ค่อยจะเข้าหู ส่วนที่คูณแม่บอกว่าเด็กไม่เถียงนั้นเพราะเด็กมีการเก็บกดไว้ในจิตไร้สำนึกทำให้มีอิทธิพลต่อการทำงานของร่างกาย ทำให้ร่างกายไม่ปฏิบัติหน้าที่ไปตามแรงกระตุ้น อย่างไรก็ตามเด็กในวัยนี้ คุณแม่ควรให้ความรักความอบอุ่นอย่างใกล้ชิด มีอะไรที่ไม่ถูกไม่ควรคุณแม่ก็ควรตักเตือนแล้วอธิบายเหตุผลว่าทำไมถึงทำอย่างนั้นไม่ได้ เพราะอะไร คุณแม่ควรใช้มีเหตุผลในการอธิบาย ไม่คารดุด่าในเรื่องที่ไม่เป็นเรื่อง คุณแม่ลองกลับไปใช้วิธีที่ครูแนะนำนี้ก่อนหากยังไม่ได้ผลแล้วเราก็ค่อยมาว่ากันใหม่

    นายอับดุลรอห์มัน กอตอ
    รหัส 405304095
    โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  10. ถ้าข้าพเจ้าเป็นครูของเด็กคนนี้ข้าพเจ้าคิดว่า
    ควรให้คำปรึกษากับแม่ของเด็กคนนี้ว่า“ เด็กวัยนี้ควรเอาใจใส่ในทุกๆเรื่องก็จริง แต่เราก็ไม่ควรเข้มงวดจนเกินไปเพราะเด็กวัยนี้เป็นวัยที่อยากรู้อยากลองและส่วนมากแล้วเด็กวัยนี้จะฟังเพื่อนมากกว่าฟังพ่อแม่ บางทีผู้เป็นพ่อเป็นแม่ก็ควรปล่อยให้เขาออกไปพบกับประสบการณ์จริงบ้างเพราะบางครั้งสิ่งที่เราพูดออกไปเขาก็ไม่ค่อยจะสนใจทำเป็นเอาหูไปนาเอาตาไปไร่ไม่สนใจคำพูดของเรา แต่ที่จริงแล้วเขาก็ฟังนั่นแหล่ะค่ะ ที่เขาไม่เถียงก็คงเป็นเพราะว่า ( เขาคงคิดว่าหากพูดไปเดี๋ยวก็โดนดุ )เด็กจึงไม่กล้าที่จะปรึกษาเรื่องของเขาให้กับผู้ใหญ่ฟัง คุณลองเปลี่ยนทัศนะคติของเขาโดยการใช้นี้ดูน่ะค่ะแล้วคุณก็คอยให้คำปรึกษาอยู่ข้างๆเขา พูดกับเขาดีๆ เดี๋ยวเขาก็จะค่อยๆคิดได้เอง ”
    ควรคุยกับเด็กคนนั้นว่า “ ทุกอย่างที่คุณแม่ว่ากล่าวตักเตือน คุณแม่อยากให้หนูได้ดี หนูควรตั้งใจเรียน ฟังคำสอนของคุณแม่บ้าง มีอะไรก็ควรไปปรึกษาท่าน บอกท่านตรงๆ คุณแม่เข้าใจอยู่แล้วแหล่ะ ท่านจะได้สบายใจด้วย ”

    ชื่อ นางสาว ซาฟีน๊ะ ยังสมัน
    รหัส 405304090
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  11. ถ้าข้าพเจ้าเป็นครูของเด็กคนนี้ข้าพเจ้าคิดว่า
    ควรให้คำปรึกษากับแม่ของเด็กคนนี้ว่า“ เด็กวัยนี้ควรเอาใจใส่ในทุกๆเรื่องก็จริง แต่เราก็ไม่ควรเข้มงวดจนเกินไปเพราะเด็กวัยนี้เป็นวัยที่อยากรู้อยากลองและส่วนมากแล้วเด็กวัยนี้จะฟังเพื่อนมากกว่าฟังพ่อแม่ บางทีผู้เป็นพ่อเป็นแม่ก็ควรปล่อยให้เขาออกไปพบกับประสบการณ์จริงบ้างเพราะบางครั้งสิ่งที่เราพูดออกไปเขาก็ไม่ค่อยจะสนใจทำเป็นเอาหูไปนาเอาตาไปไร่ไม่สนใจคำพูดของเรา แต่ที่จริงแล้วเขาก็ฟังนั่นแหล่ะค่ะ ที่เขาไม่เถียงก็คงเป็นเพราะว่า ( เขาคงคิดว่าหากพูดไปเดี๋ยวก็โดนดุ )เด็กจึงไม่กล้าที่จะปรึกษาเรื่องของเขาให้กับผู้ใหญ่ฟัง คุณลองเปลี่ยนทัศนะคติของเขาโดยการใช้นี้ดูน่ะค่ะแล้วคุณก็คอยให้คำปรึกษาอยู่ข้างๆเขา พูดกับเขาดีๆ เดี๋ยวเขาก็จะค่อยๆคิดได้เอง ”
    ควรคุยกับเด็กคนนั้นว่า “ ทุกอย่างที่คุณแม่ว่ากล่าวตักเตือน คุณแม่อยากให้หนูได้ดี หนูควรตั้งใจเรียน ฟังคำสอนของคุณแม่บ้าง มีอะไรก็ควรไปปรึกษาท่าน บอกท่านตรงๆ คุณแม่เข้าใจอยู่แล้วแหล่ะ ท่านจะได้สบายใจด้วย ”

    ชื่อ นางสาว ซาฟีน๊ะ ยังสมัน
    รหัส 405304090
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  12. ในกรณีที่เด็กเป็นคนเฉื่อยแฉะต่อพฤติกรรมต่างๆเป็นเพราะว่าเด็กติดพฤติกรรมต่างๆมาจากการกระทำของบิดามารดาหรือคนรอบข้างที่มีการแสดงกริยาต่างๆด้วยความเฉื่อยชาหรือการแสดงพฤติกรรมขี้เกียจออกมาโดยไม่รู้ตัวแล้วเกิดเป็นภาพจดจำในสายตาลูกขึ้นมาได้ หรือการแสดงพฤติกรรมอื่นๆ เป็นต้น

    ในกรณีที่เกิดขึ้นมาแล้วบิดามารดาไม่ควรดุด่าลูกในทันที่ควรจะค่อยๆเตือนที่ละนิดหรือบังคับให้เขาเกิดความเคยชินกับพฤติกรรมเร็วๆเช่นว่าการกำหนดเวลาการตื่นนอน การรับประทานอาหารหรือเวลาไปโรงเรียนเป็นต้น การฝึกเหล่านี้เป็นการลดความเฉื่อยลงไปได้หรือการหากิจกรรมที่เพลินๆและสอดแทรกความกระรือร้นลงไป



    นางสาวรอกีเย๊าะ เพ็ง

    รหัส 405304051

    โปรแกรม คณิตศาสตร์ ห้อง2

    ReplyDelete
  13. แรกเริ่มคุณแม่ต้องหาสาเหตุก่อนว่าทำไมลูกถึงมีพฤติกรรมแบบนั้นแล้วเปิดโอกาสให้ลูกได้บอกเหตุผลแต่คุณแม่ห้ามใช้อารมณ์กับลูกเด็ดขาดค่อยๆถามว่าทำไมเพราะอะไรเพราะถ้าคุณแม่ใช้อารมณ์ด้วยการดุด่าเด็กอาจจะกลัวและไม่กล้าจะมาปรึกษากับเราอีก ควรถามไถ่เรื่องการเรียนและถามลูกว่าวันนี้เรียนเป็นไงบ้างคุณครูให้การบ้านหรือเปล่าไม่เข้าอะไรบ้างแล้วค่อยๆสอนลูกไม่นานพฤติกรรมดังกล่าวก็จะค่อยๆหายไปในที่สุดคุณแม่ให้ความสำคัญกับลูกให้มาก พยายามเข้าใจปัญหาของเด็กด้วย ควรใช้เหตุและผลในการแก้ปัญหามากกว่าใช้อารมณ์

    นางสาวลาตีฟะห์ กอและ
    รหัส 405304056
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  14. แนะนำให้คุณแม่ลองหาสาเหตุที่ว่าทำไม ลูกถึงขี้เกียจเรียนหนังสือ หนังสือไม่เคยอ่าน พร้อมทั้งสังเกตุพฤติกรรมของเด็กด้วยเปิดใจรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับลูก เปิดโอกาสให้ลูกได้บอกเหตุผลแต่คุณแม่ห้ามใช้อารมณ์กับลูกเด็ดขาด เพราะถ้าคุณแม่ใช้อารมณ์ด้วยการดุด่าเด็กอาจจะกลัวและไม่กล้าจะมาปรึกษา พยายามเข้าใจปัญหาของเด็กด้วย ควรใช้เหตุและผลในการแก้ปัญหามากกว่าใช้อารมณ์

    นางสาวฟารีดา วาแวนิ
    รหัส 405304063
    โปรแกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  15. เราควรแนะนำ ให้คุณแม่ใจเย็น ไม่ควรดุด่าลูก เพราะเด็กในวัยนี้กำลังมีการเปลี่ยนแปลง ต้องการความอิสระ ถ้าคุณแม่คอยดุ คอยด่าลูก จะทำให้ลูกรู้สึกรำคาญ เบื่อหน่ายกับชีวิต ยิ่งทำให้ลูกไม่อยากเรียน ไม่อยากทำอะไรทั้งนั้น ดังนั้นคุณแม่ควรที่จะค่อยๆพูดค่อยๆจากับลูก ให้ลูกทำกิจกรรมต่างๆ หาหนังสือการ์ตูนหรือหนังสือที่มีสีสันสวยงาม เพื่อฝึกทักษะให้ลูกเป็นคนรักการอ่าน ให้กำลังใจ แต่เมื่อใดที่ลูกทำไม่ได้/ผิด คุณแม่ก็ควรให้คำแนะนำ ตักเตือน จะทำให้ลูกมีกำลังใจมากขึ้น และอาจจะทำให้พฤติกรรมดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีได้

    ชื่อนางสาวอามีเน๊าะ ลามอ
    รหัส 405304054
    โปรแกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  16. สมมติเราเป็นครูประจำชั้นม.2 มีคุณแม่ยังสาวจูงมือลูกชายมาหาเรา แล้วเล่าว่า ลูกชายเฉื่อยแฉะ ขี้เกียจเรียนหนังสือ ดุด่าว่ากล่าวเหมือนไม่เข้าหู หนังสือไม่เคยอ่าน คุณแม่ควรให้ลูกทำกิจกรรมต่างๆ หาหนังสือการ์ตูนหรือหนังสือที่มีสีสันสวยงาม เพื่อฝึกทักษะให้ลูกเป็นคนรักการอ่าน และแม่ก็ไม่ควรดุด่าลูก ควรให้กำลังใจ เมื่อลูกมีปัญหา แม่ก็ควรชี้แนะ ตักเตือน จะทำลูกรู้สึกอบอุ่น มีกำลังใจในการกำลังใจมากยิ่งขึ้น

    ชื่อนางสาวรุสนี สะมะแอ
    รหัส 405304050
    โปรแกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  17. ก่อนอื่นคุณแม่ควรมีการพูดคุยกับลูกเพื่อหาสาเหตูที่ทำให้ลูกมีนิสัย
    เฉื่อยแฉะ ขี้เกียจอ่านหนังสือ เมื่อมีความเข้าใจกันดีแล้วคุณแม่ก็ควรว่างเงื่อนไขหรือมีการเสริมแรงให้ลูกเพื่อให้ลูกมีความกระตื้อรื้อร้นที่จะปรับปรุงนิสัยเดิม ไม่ควรที่จะดุด่าลูกควรเข้าใจว่าเด็กในวัยนี้มีความเป็นตัวของตัวเองสูง ต้องการความเป็นอิสระ การอบรมควรเป็นแนวให้กำลังใจเป็นหลัก

    ชื่อนางสาวฟารีดา มาลัยมาลย์
    รหัส405304065
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  18. การที่จะแก้ไขพฤติกรรมของเด็ก ไม่ใช่ให้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเป็นคนแก้ไข แต่ทุกฝ่ายต้องช่วยกันแก้ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายผู้ปกครองหรือฝ่ายครูผู้สอนเองก็ตาม ในส่วนของครูดิฉันจะเพิ่มกิจกรรมในเวลาเรียนให้มากขึ้น ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมนั้นๆ ดิฉันอยากให้คุณแม่ลองหยุดดุด่าลูกชาย เพราะการดุด่าเด็ก จะยิ่งทำให้เด็กมีความรู้สึกที่แย่ลงมากขึ้น คุณแม่ควรที่จะเปลี่ยนจากวิธีการดุด่ามาเป็นการชม การให้กำลังใจเด็กจะดีกว่า มันเป็นวิธีการเพิ่มความรู้สึกในแง่บวกให้กับเด็ก คุณแม่ไม่ควรเข้มงวดกับเขามากเกินไป การที่จะแก้ไขพฤติกรรมของเด็กในเรื่องความเฉื่อยแฉะ ไม่สนใจการเรียน และการไม่ยอมอ่านหนังสือ ดิฉันคิดว่าเราควรที่ให้ความสนใจเด็กให้มากขึ้นกว่านี้ คุณแม่ไม่ควรเข้มงวดกับเขามากเกินไป ปล่อยให้เด็กเป็นอิสระบ้าง ดิฉันจะให้การบ้านเด็กกลับไปทำ เวลาเด็กกลับจากโรงเรียนตอนเย็นคุณแม่ควรถามเด็กเกี่ยวกับการเรียนในวันนี้ ก็อย่างเช่นว่า “เรียนวันนี้เป็นยังไงบ้างลูก” อาจจะถามเขาต่อไปอีกว่า “วันนี้คุณครูให้การบ้านหนูไหมลูก ” คุณแม่ต้องแสดงความกระตื้นรื้อร้นที่จะให้เขาทำการบ้าน ก็อย่างเช่น คุณแม่อาจจะหาอะไรให้เขาทานก่อน จากนั้นก็บอกให้เขามานั่งทำการบ้านข้างๆคุณแม่ คุณแม่ต้องเปิดโอกาสให้เด็กลองทำการบ้านเอง ถ้ามีข้อไหนที่เด็กทำไม่ได้หรือไม่เข้าใจ คุณแม่ก็ต้องคอยบอกเขาคอยสอนเขา เวลาสอนเขาคุณแม่ก็ไม่ควรใช่อารมณ์ ถ้าเขาทำผิดคุณแม่ก็ไม่ควรดุเขา ควรพูดปลอบใจเขา อย่างเช่น “ไม่เป็นไรลูก เดี๋ยวเราลองไหม” ถ้าเขาทำถูกแล้วคุณแม่ก็ต้องพูดชมเขา ก็อย่างเช่น “เก่งมากลูก” คุณแม่อาจจะใช้มือลูบศีรษะของเขาเบาๆ ขณะที่ลูกนั่งทำการบ้าน คุณแม่ก็ควรพูดคุยซักถามเขาบ้าง เช่น ถ้าเขาทำการบ้านวิชาคณิตศาสตร์ สมมติว่าเป็นเรื่อง การบวก คุณแม่ก็อาจจะถามว่า “ข้อนี้ได้คำตอบเท่าไรค่ะ” ถ้าเขาตอบ คุณแม่อาจจะถามเขาต่อว่า “แล้วหนูหาได้ยังไงค่ะลูก” หรือ คุณแม่อาจจะหากิจกรรมอื่นทำกับเขา เช่น การนั่งอ่านหนังสือ วาดรูป ระบายสี หรือไหมก็ทำกิจกรรมนอกบ้านกับเขา เช่น ปลูกต้นไม้ เล่นกีฬา เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ ทำให้เขาได้เรียนรู้และทำอะไรใหม่ๆ คุณแม่อาจจะมีรางวัลให้เขาบ้างเวลาที่เขาทำอะไรสำเร็จ ก็อย่างเช่น เขาสามารถอ่านหนังสือเองได้โดยที่วันนี้คุณแม่ไม่ได้สอน แล้วคุณแม่ก็ซื้อของเล่นให้ มันอาจจะต้องใช้ระยะเวลา แต่ดิฉันเชื่อว่าถ้าเราช่วยกัน เราจะสามารถแก้ไขพฤติกรรมของเด็กได้
    นางสาว ปัทมา ยะโกะ
    รหัส 405304084
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  19. การที่จะแก้ไขพฤติกรรมของเด็ก ไม่ใช่ให้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเป็นคนแก้ไข แต่ทุกฝ่ายต้องช่วยกันแก้ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายผู้ปกครองหรือฝ่ายครูผู้สอนเองก็ตาม ในส่วนของครูดิฉันจะเพิ่มกิจกรรมในเวลาเรียนให้มากขึ้น ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมนั้นๆ ดิฉันอยากให้คุณแม่ลองหยุดดุด่าลูกชาย เพราะการดุด่าเด็ก จะยิ่งทำให้เด็กมีความรู้สึกที่แย่ลงมากขึ้น คุณแม่ควรที่จะเปลี่ยนจากวิธีการดุด่ามาเป็นการชม การให้กำลังใจเด็กจะดีกว่า มันเป็นวิธีการเพิ่มความรู้สึกในแง่บวกให้กับเด็ก คุณแม่ไม่ควรเข้มงวดกับเขามากเกินไป การที่จะแก้ไขพฤติกรรมของเด็กในเรื่องความเฉื่อยแฉะ ไม่สนใจการเรียน และการไม่ยอมอ่านหนังสือ ดิฉันคิดว่าเราควรที่ให้ความสนใจเด็กให้มากขึ้นกว่านี้ คุณแม่ไม่ควรเข้มงวดกับเขามากเกินไป ปล่อยให้เด็กเป็นอิสระบ้าง ดิฉันจะให้การบ้านเด็กกลับไปทำ เวลาเด็กกลับจากโรงเรียนตอนเย็นคุณแม่ควรถามเด็กเกี่ยวกับการเรียนในวันนี้ ก็อย่างเช่นว่า “เรียนวันนี้เป็นยังไงบ้างลูก” อาจจะถามเขาต่อไปอีกว่า “วันนี้คุณครูให้การบ้านหนูไหมลูก ” คุณแม่ต้องแสดงความกระตื้นรื้อร้นที่จะให้เขาทำการบ้าน ก็อย่างเช่น คุณแม่อาจจะหาอะไรให้เขาทานก่อน จากนั้นก็บอกให้เขามานั่งทำการบ้านข้างๆคุณแม่ คุณแม่ต้องเปิดโอกาสให้เด็กลองทำการบ้านเอง ถ้ามีข้อไหนที่เด็กทำไม่ได้หรือไม่เข้าใจ คุณแม่ก็ต้องคอยบอกเขาคอยสอนเขา เวลาสอนเขาคุณแม่ก็ไม่ควรใช่อารมณ์ ถ้าเขาทำผิดคุณแม่ก็ไม่ควรดุเขา ควรพูดปลอบใจเขา อย่างเช่น “ไม่เป็นไรลูก เดี๋ยวเราลองไหม” ถ้าเขาทำถูกแล้วคุณแม่ก็ต้องพูดชมเขา ก็อย่างเช่น “เก่งมากลูก” คุณแม่อาจจะใช้มือลูบศีรษะของเขาเบาๆ ขณะที่ลูกนั่งทำการบ้าน คุณแม่ก็ควรพูดคุยซักถามเขาบ้าง เช่น ถ้าเขาทำการบ้านวิชาคณิตศาสตร์ สมมติว่าเป็นเรื่อง การบวก คุณแม่ก็อาจจะถามว่า “ข้อนี้ได้คำตอบเท่าไรค่ะ” ถ้าเขาตอบ คุณแม่อาจจะถามเขาต่อว่า “แล้วหนูหาได้ยังไงค่ะลูก” หรือ คุณแม่อาจจะหากิจกรรมอื่นทำกับเขา เช่น การนั่งอ่านหนังสือ วาดรูป ระบายสี หรือไหมก็ทำกิจกรรมนอกบ้านกับเขา เช่น ปลูกต้นไม้ เล่นกีฬา เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ ทำให้เขาได้เรียนรู้และทำอะไรใหม่ๆ คุณแม่อาจจะมีรางวัลให้เขาบ้างเวลาที่เขาทำอะไรสำเร็จ ก็อย่างเช่น เขาสามารถอ่านหนังสือเองได้โดยที่วันนี้คุณแม่ไม่ได้สอน แล้วคุณแม่ก็ซื้อของเล่นให้ มันอาจจะต้องใช้ระยะเวลา แต่ดิฉันเชื่อว่าถ้าเราช่วยกัน เราจะสามารถแก้ไขพฤติกรรมของเด็กได้
    นางสาว ปัทมา ยะโกะ
    รหัส 405304084
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  20. การที่จะแก้ไขพฤติกรรมของเด็ก ไม่ใช่ให้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเป็นคนแก้ไข แต่ทุกฝ่ายต้องช่วยกันแก้ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายผู้ปกครองหรือฝ่ายครูผู้สอนเองก็ตาม ในส่วนของครูดิฉันจะเพิ่มกิจกรรมในเวลาเรียนให้มากขึ้น ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมนั้นๆ ดิฉันอยากให้คุณแม่ลองหยุดดุด่าลูกชาย เพราะการดุด่าเด็ก จะยิ่งทำให้เด็กมีความรู้สึกที่แย่ลงมากขึ้น คุณแม่ควรที่จะเปลี่ยนจากวิธีการดุด่ามาเป็นการชม การให้กำลังใจเด็กจะดีกว่า มันเป็นวิธีการเพิ่มความรู้สึกในแง่บวกให้กับเด็ก คุณแม่ไม่ควรเข้มงวดกับเขามากเกินไป การที่จะแก้ไขพฤติกรรมของเด็กในเรื่องความเฉื่อยแฉะ ไม่สนใจการเรียน และการไม่ยอมอ่านหนังสือ ดิฉันคิดว่าเราควรที่ให้ความสนใจเด็กให้มากขึ้นกว่านี้ คุณแม่ไม่ควรเข้มงวดกับเขามากเกินไป ปล่อยให้เด็กเป็นอิสระบ้าง ดิฉันจะให้การบ้านเด็กกลับไปทำ เวลาเด็กกลับจากโรงเรียนตอนเย็นคุณแม่ควรถามเด็กเกี่ยวกับการเรียนในวันนี้ ก็อย่างเช่นว่า “เรียนวันนี้เป็นยังไงบ้างลูก” อาจจะถามเขาต่อไปอีกว่า “วันนี้คุณครูให้การบ้านหนูไหมลูก ” คุณแม่ต้องแสดงความกระตื้นรื้อร้นที่จะให้เขาทำการบ้าน ก็อย่างเช่น คุณแม่อาจจะหาอะไรให้เขาทานก่อน จากนั้นก็บอกให้เขามานั่งทำการบ้านข้างๆคุณแม่ คุณแม่ต้องเปิดโอกาสให้เด็กลองทำการบ้านเอง ถ้ามีข้อไหนที่เด็กทำไม่ได้หรือไม่เข้าใจ คุณแม่ก็ต้องคอยบอกเขาคอยสอนเขา เวลาสอนเขาคุณแม่ก็ไม่ควรใช่อารมณ์ ถ้าเขาทำผิดคุณแม่ก็ไม่ควรดุเขา ควรพูดปลอบใจเขา อย่างเช่น “ไม่เป็นไรลูก เดี๋ยวเราลองไหม” ถ้าเขาทำถูกแล้วคุณแม่ก็ต้องพูดชมเขา ก็อย่างเช่น “เก่งมากลูก” คุณแม่อาจจะใช้มือลูบศีรษะของเขาเบาๆ ขณะที่ลูกนั่งทำการบ้าน คุณแม่ก็ควรพูดคุยซักถามเขาบ้าง เช่น ถ้าเขาทำการบ้านวิชาคณิตศาสตร์ สมมติว่าเป็นเรื่อง การบวก คุณแม่ก็อาจจะถามว่า “ข้อนี้ได้คำตอบเท่าไรค่ะ” ถ้าเขาตอบ คุณแม่อาจจะถามเขาต่อว่า “แล้วหนูหาได้ยังไงค่ะลูก” หรือ คุณแม่อาจจะหากิจกรรมอื่นทำกับเขา เช่น การนั่งอ่านหนังสือ วาดรูป ระบายสี หรือไหมก็ทำกิจกรรมนอกบ้านกับเขา เช่น ปลูกต้นไม้ เล่นกีฬา เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ ทำให้เขาได้เรียนรู้และทำอะไรใหม่ๆ คุณแม่อาจจะมีรางวัลให้เขาบ้างเวลาที่เขาทำอะไรสำเร็จ ก็อย่างเช่น เขาสามารถอ่านหนังสือเองได้โดยที่วันนี้คุณแม่ไม่ได้สอน แล้วคุณแม่ก็ซื้อของเล่นให้ มันอาจจะต้องใช้ระยะเวลา แต่ดิฉันเชื่อว่าถ้าเราช่วยกัน เราจะสามารถแก้ไขพฤติกรรมของเด็กได้
    นางสาว ปัทมา ยะโกะ
    รหัส 405304084
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  21. (แรกๆเมื่อคุณแม่กล่าวถึงลูกของตน)
    เราก็ต้องพยามใช้กลวิธีในการเปลียเรื่องที่คุณแม่พูดไปก่อนแล้วค่อยยกตัวอย่างที่มีความสัมพันธ์กับลูกชายของเขา เช่น ชมลูกชายของเขามีความสามารถอย่างโน้น อย่างนี้ บอกคุณแม่ว่าปกติเด็กวัยนี้ ก็มักจะคบเพื่อนเพื่อให้เพื่อยยอมรับเขากันทุกคน ไม่คอยสนใจการเรียนกันทุกคน แต่ว่าลูกของคูณเห้นถ้าทางเปลียนไปเยอะแล้วนะจากเดิม เดียวนี้ขยันมากขึ้น การบ้านก็โอเค
    เราก็ต้องบอกแม่ของเด็กว่าในทางที่ดี คุณแม่ต้องให้กำลังใจเข้ามากๆเลยนะ พยายามชมเขาอยู่เสมอ ถ้าเราชอบถ่ามกับการเรียนและแนวคิดของเขาเขาก็จะเกิดความรู้สึกว่าพ่อแม่เข้าใจเขา เช่น ถ่ามเขาว่าลูกจบมัธยมตอนต้นลูกจะเรียนที่ในต่อ หรือจะเรียนอะไร แนะนำกับการเรียน เช่นคนที่เรียนสูงจะสบ่ายในวันหน้า และปลูกจิตสำนึกของเขาให้เป็นคนดี และคุณแม่ก็ไม่ควรบ้นมากเกินไปแก่ลูกลูกวัยนี้เขารำคาญใจ เพราะวัยรุนเขาไม่อยากให้ใครมาดุเขาหลายครั้ง เราเป็นคุณแม่ก็ควรตักเตื่อนลูๆมังแต่อย่ามากเกินไป
    และในทางที่ดีจะต้องดูกับสภาพ และสถานการณ์อีกด้วยน่ะครับ


    นายอัสรี บูกุ (02)
    รหัสนักศึกษา 405304068
    โปรแกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  22. คุณแม่ควรจะเน้นกิจกรรมที่ว่าลูกชอบสนใจอะไรและเกิดการเรียนรู้ด้วยเพราะเด็กในวัยนี้กำลังมีการเปลี่ยนแปลง ต้องการความอิสระค่อยๆถามหาสาเหตุคุณแม่ควรจะยอมรับเหตุผลความคิดเห็นของลูกถ้าคุณแม่คอยดุ คอยด่าลูก จะทำให้ลูกรู้สึกรำคาญ เบื่อหน่ายกับชีวิต ยิ่งทำให้ลูกไม่อยากเรียน ไม่อยากทำอะไรทั้งนั้นถ้าอยากให้ลูกรักการอ่านคุณพ่อคุณแม่ควรจะเป็นแบบอย่างในเรื่องการอ่านพยายามบอกวัตถุประสงค์ให้ลูกได้รู้ในสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่ทำและทำให้เขารู้สึกให้ได้ว่าสักวันเขาจะต้องเป็นผู้นำที่มีความรูมีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและทุกคนในสังคมโดยให้กำลังใจลูกอยู่ข้างหลัง

    ชื่อนางสาวนูรีนา ดอแม
    รหัส 405304093
    โปรแกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  23. แรกก็ให้รู้สาเหตุมาจากใดบ้าง
    1ชมว่าลูกของคุณเรียนเก่ง
    2เข้ากับเพื่อนได้ดี
    3ชมว่ามีคมามสามารถมาก
    4เด็กวัยนี้มีอารมณ์พ้งซ้านมาก
    5ควรพูดดีๆกับเด็ก
    6แนะนำให้แม่รักลูกให้มากกว่าเก่า
    7ปลูกจิตสำนึกให้รู้รับผิดชอบ
    8ให้กำลังลูกเสมอก่อนไปเรียน
    9ตักเตือนบ่อยแต่วันละนิด
    10ถามอยู่เสมอว่าวันนี้มีการบ้านใหม่ให้แม่ดูหน่อยซิ
    นายบูดอรี แวกาจิ
    รหัส 405304070
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  24. ปัญหานี้เป็นปัญหาที่ผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายคือทั้งครูและผู้เป็นแม่ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ถ้าปล่อยละเลยไป ทำให้เด็กติดขี้เกียจเรียนแล้วจะทำให้ส่งผลเสียถึงอนาคตของเด็ก เราในฐานะ ( สมมติ)เป็นครู เราก็ควรเอาใจใส่เด็กให้มากกว่านี้ ในขณะเดียวกันเราก็ควรแนะนำแม่ของเด็กผู้เป็นแม่ก็ต้องเข้าใจเด็ก และสนับสนุนเด็กในทางที่เด็กถนัด ไม่ควรห้ามเด็กทำในสิ่งที่เด็กต้องการที่อยากมีอิสระในการทำหรือเล่นกิจกรรมนั้นๆเพราะการห้ามเด็กอาจทำให้เด็กเกิดการทำตัวขวางโลกหรือทำในสิ่งที่ผู้เป็นแม่ไม่ต้องการแต่ผู้เป็นแม่ก็ควรดูแลอย่างใกล้ๆ เพื่อระวังไม่ให้ทำในสิ่งที่ผิด ที่จริงแล้วเด็กอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับการเรียนก็ได้ ก่อนที่แม่จะว่าหรือตักเตือนเด็ก ผู้เป็นแม่ก็ต้องซักถามเด็กก่อนว่าเกิดอะไรขึ้นเกี่ยวกับการเรียนของเด็ก จากนั้นเราค่อยคุยกับเด็กว่าเด็กจะเอายังไง แต่ยังไงก็ตามเราก็ควรให้ลูกได้เรียนและที่สำคัญคุณแม่เองก็ควรใช้คำพูดที่เหมาะสมกับเด็กไม่ควรตวาดเด็กเพราะเด็กอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ถ้าแม่ไม่ฟังลูก ลูกเองก็ไม่รู้จะอธิบายกับใคร สุดท้ายก็ไปพึ่งเพื่อน แล้วทีนี้จะยิ่งยากเข้าไปใหญ่ในการสั่งสอนลูกผู้เป็นแม่ก็ต้องคอยอยู่ข้างเคียงเด็กเสมอ ซึ่งแม่เองก็ต้องเข้าใจเด็กในวัยนี้ด้วย
    ชื่อนางสาวซูไลฮา โตะสนิ
    รหัส 405304089
    โปรแกรม คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  25. อันดับแนะนำแรกคุณแม่ต้องหาสาเหตุก่อนว่าทำไมลูกถึงมีพฤติกรรมแบบนั้นแล้วเปิดโอกาสให้ลูกได้บอกเหตุผลแต่คุณแม่ห้ามใช้อารมณ์กับลูกเด็ดขาดค่อยๆถามว่าทำไมเพราะอะไรเพราะถ้าคุณแม่ใช้อารมณ์ด้วยการดุด่าหรือไม่ฟังเหตุผลก็จะทำให้ลูกกลัวไม่กล้าที่จะบอกความจริงคุณแม่และไม่กล้าที่จะปรึกษาดังนั้นต้องเปิดใจรับฟังเหตุผลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับลูกคอยให้คำปรึกษาตักเตือนลูกพร้อมทั้งให้กำลังใจและแนะนำเกี่ยวกับเรื่องการเรียนแก่ลูก คอยดูแลเอาใจใส่ถามไถ่เรื่องการเรียน และแนะนำในทุกๆเรื่องแก่ลูก จะทำไห้ลูกของคุณกล้ามาปรึกษาและบอกทุกอย่างที่เกิดขึ้นกับตัวเขา ลูกก็จะไว้ใจคุณแม่ และคุณแม่เองก็ควรไว้ใจลูกเช่นกัน อย่างเช่น วันนี้ลูกกลับจากโรงเรียนแม่ก็ถามลูกว่าวันนี้เรียนเป็นไงบ้างคุณครูให้การบ้านหรือเปล่าไม่เข้าอะไรบ้างแล้วค่อยๆสอนลูกไม่นานพฤติกรรมดังกล่าวก็จะค่อยๆหายไปเพราะลูกจะชอบมากเวลาที่คุณแม่คอยสอนการบ้านเด็กจะรู้สึกว่าคุณแม่ให้ความสำคัญกับเขาและรักเขา
    ชื่อ นางสาวฮูดา อาแว
    รหัสนักศึกษา 405304072
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  26. เราควรแนะนำให้คุณแม่คอยสังเกตพฤติกรรมของเด็ก และหาสาเหตุที่ทำให้ลูกขี้เกียจเรียน ควรถามและพูดกับลูกดีๆ ไม่ควรไปดุด่าลูกโดยที่เรายังมาถามถึงสาเหตุที่ทำให้ลูกเป็นแบนี้ไม่ควรใช้อารมณ์ในการแก้ปัญหา และเมื่อทราบสาเหตุแล้วก็ควรหาวิธีการแก้ปัญหาไปที่ละนิด ให้กำลังใจลูกหรือวิธีการเสริมแรงเพื่อให้ลูกอยากทำในสิ่งที่เราคาดหวัง แต่ก็ควรจะให้เวลาในการปรับตัวไปที่ละนิดและการเสริมแรงให้ลูกมีกำลังใจในการเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น เมื่อลูกมีการพัฒนาที่ดีขึ้นก็ควรชมลูกหรือให้กำลังใจแก่ลูกให้พยายามทำต่อไปเรื่อยๆ

    ชื่อ นางสาวอัสมะอ์ เจ๊ะอีแต
    รหัส 405304060
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete
  27. บอกกับแม่ว่า เราควรคุยกับลูกด้วยเหตุผล ไม่ใช่เอะอะก็ด่าก็บ่น บางทีการที่เด็กทำเฉื่อยแฉะ พูดไรไม่ค่อยจะฟังนั้น อาจเป็นการต่อต้านคุณแม่แบบเงียบๆก็ได้ ลองเปลี่ยนวิธีการใหม่ อาจจะกำหนดเวลาในการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น คุณแม่ช่วยคุณลูกทำการบ้าน เด็กอาจจะตั้งใจมากขึ้นก็ได้ แล้วระหว่างทำกิจกรรมด้วยกันนั้นคุณแม่ก็ควรสอดแทรก คติ แง่คิด ให้ลูกได้เรียนรู้ควบคู่ไปด้วย พูดจาพยายามไม่ใช้อารมณ์ แต่ถ้าเราโกรธจัด ก็ควรอธิบายให้ลูกได้เข้าใจ ว่าเหตุผลที่แม่ทำนั้นเพราะสาเหตุใด
    นัสรินทร์ มะดง
    รหัส 405304077

    ReplyDelete
  28. ถ้าสมมติดิฉันเป็นครูของเด็ก ดิฉันจะแนะนำให้กับคุณแม่ของเด็กว่า
    แรกๆเราต้องสังเกตพฤติกรรมของเด็กก่อนว่าสาเหตุอะไรที่ทำให้ลูกมีพฤติกรรมแบบนั้น การที่คุณแม่ได้สังเกตพฤติกรรมของลูกนั้นทำให้แม่มีความสนใจในตัวลูกมากขึ้น เพราะว่าการที่ลูกมีพฤติกรรมแบบนั้นอาจเป็นเพราะว่าแม่ไม่เคยสนใจลูก ความเป็นแม่ในวัยสาวส่วนมากจะสนใจความสวยของตนเอง การที่คุณแม่ให้ความสนใจกับลูกเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ลูกมีแรงผลักในการเรียนมากขึ้น จากที่เคยขี้เกียจอ่านหนังสือ ทำให้ขยันอ่านก็ได้ และลำดับต่อไปที่จะแนะนำให้กับคุณแม่ก็คือ ทุกครั้งที่ลูกทำอะไรผิดไม่ควรที่จะดุด่าลูก ควรให้กำลังใจหรือปลอบลูก เพราะการที่แม่ดุด่าว่าลูกอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กมีพฤติกรรมแบบนี้ และเมื่อคุณแม่ได้ทำสิ่งเหล่านี้ที่ครูแนะนำแล้ว ถ้าเกิดได้ผลต่อลูก คุณแม่ก็ควรสนใจลูกทุกครั้งที่ลูกมีปัญหาการเรียนหรือแม้เป็นปัญหาเล็กๆก็ตาม เพราะเด็กในวัยช่วงนี้ต้องการความสนใจจากคนรอบข้างมาก
    นางสาวฟัตฮียะห์ เจะและ
    รหัส 405304062
    โปรแกรมวิชา คณิตศาสตร์

    ReplyDelete